การจัดรูปแบบระบบการปลูกพืชที่สำคัญ การอธิบายความสัมพันธ์และการจัดการองค์ประกอบในระบบนิเวศเกษตร ได้แก่ ปัจจัยทางกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐสังคม การประเมินและเพิ่มศักยภาพการผลิตต่อหน่วยพื้นที่ เพื่อให้ได้ผลตอบแทนและความพึงพอใจสูงสุดโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การใช้วิธีการทางนิเวศเกษตร การวิจัยระบบการปลูกพืชในระดับไร่นา การบูรณาการปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลผลิตและเศรษฐกิจ อธิบายระบบของเกษตรทางเลือก เกษตรยั่งยืน เกษตรอินทรีย์ รวมถึงระบบเกษตรที่ดี (GAP)
- อาจารย์: นรุณ วรามิตร (Naroon WARAMIT)
ปฏิบัติการการผลิตและจัดการพืช Laboratory in Crop Production and Management Practice
- อาจารย์: นรุณ วรามิตร (Naroon WARAMIT)
- อาจารย์: อนุรักษ์ อรัญญนาค (Anuruck ARUNYANARK)
วิชาการจัดการพืชอาหารสัตว์ เป็นวิชาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (เกษตรศาสตร์) ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- อาจารย์: นรุณ วรามิตร (Naroon WARAMIT)
- อาจารย์: จิราพร เชื้อกูล (Jiraporn CHAUGOOL)
ปัจจุบัน ความต้องการพลังงานในโลกเพิ่มขึ้นมาก พลังงานฟอสซิลซึ่งเป็นพลังงานหลักกำลังหมดลงในอนาคตอันใกล้ นอกจากนี้ การใช้พลังงงานจากฟอสซิลทำให้เกิดผลกระทบต่อภูมิอากาศดลกเปลี่ยนแปลง หรือโลกร้อน ทำให้ทุกภาคส่วนต้องพยายามค้นหาพลังงานสะอาดมาทดแทนพลังงานจากฟอสซิล ดังนั้น นิสิตจึงมีความจำเป็นที่จะต้องเข้าใจการผลิตพลังงานทดแทนจากพืช โดยวิชาการผลิตพืชเพื่อพลังงานทดแทนนี้เป็นวิชาหนึ่งของหลักสูตร วท.บ. (เกษตรศาสตร์) ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยสอนให้ผู้เรียนได้เข้าใจความสำคัญของการผลิตพืชชนิดต่างๆ เพื่อนำมาผลิตพลังงานทดแทนประเภทต่างๆ เข้าใจหลักการจัดการพืช สรีรวิทยาพืช ระบบการเขตกรรมพืช Grass for Bioenergy
- อาจารย์: อรอุมา ตนะดุลย์ (Orn-U-Ma TANADUL)
- อาจารย์: นรุณ วรามิตร (Naroon WARAMIT)
- อาจารย์: อนุรักษ์ อรัญญนาค (Anuruck ARUNYANARK)
- อาจารย์: จิราพร เชื้อกูล (Jiraporn CHAUGOOL)
- อาจารย์: กนกวรรณ เที่ยงธรรม (Kanokwan TEINGTHAM)
- อาจารย์: พรศิริ เลี้ยงสกุล (Ponsiri LIANGSAKUL)