ชนิดของพืชน้ำที่มีความสำคัญ นิเวศวิทยาของพืชน้ำ บทบาทของพืชน้ำที่มีต่อระบบนิเวศและการประมง การขยายพันธุ์พืชน้ำ การเตรียมห้องปฏิบัติการและสถานที่เพาะเลี้ยง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชน้ำและการปลูกแบบไร้ดิน
เมื่อเรียนวิชานี้แล้ว นิสิตสามารถ
- อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชน้ำ
- ระบุขั้นตอน วิธีการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชน้ำ
- เตรียมอาหารเลี้ยงพืชน้ำได้ โดยคำนึงถึงการใช้อาหารในแบบต่างๆ
- สามารถเปลี่ยนถ่ายเนื้อเยื่อได้โดยมีการ contaminate ไม่เกิน 10%
- วางแผนการศึกษาในขั้นตอนต่างๆของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชน้ำได้
สาหร่ายวิทยาเป็นวิชาที่จะนำพานิสิตไปรู้จักกับสิ่งมีชีวิตที่แสนมหัศจรรย์ทั้งในแง่ของความหลากหลายและการใช้ประโยชน์ สาหร่ายเป็นสิ่งมีชีวิตที่พบในทุกแหล่งน้ำ หรือแม้กระทั้งบนพื้นดินที่มีความชื้นอยู่
รายวิชาสาหร่ายวิทยาจะมุ่งเน้นการเรียนการสอนให้นิสิตได้รู้จักถึงความหลากหลาย และนิเวศวิทยาของสาหร่าย จนไปถึงการใช้ประโยชน์
สรีรวิทยาและการปรับสมดุลภายในร่างกายของสัตว์น้ำ และความสัมพันธ์ของการทำงานของแต่ละระบบของสัตว์น้ำ
Physiology and osmoregulation aquatic animals function in organ systems and their relationship.
คำอธิบายรายวิชา: การใช้ประโยชน์จากสาหร่ายทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ในด้านอาหารมนุษย์และอาหารสัตว์ การเกษตร สิ่งแวดล้อม พลังงานชีวภาพ เภสัชกรรม เครื่องสำอาง และอื่นๆ รวมถึงเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยง การเก็บเกี่ยวชีวมวล และเทคโนโลยีในการเก็บเกี่ยวผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ
- อาจารย์: จันทนา ไพรบูรณ์ (Jantana PRAIBOON)
สัณฐานวิทยา การแพร่กระจาย การจัดจำแนกหมวดหมู่และชนิดของแพลงก์ตอน ความสำคัญของแพลงก์ตอนต่อแหล่งน้ำ ตลอดจนโทษและการใช้ประโยชน์จากแพลงก์ตอน เทคนิควิธีการเก็บตัวอย่าง และรักษาสภาพตัวอย่าง
- อาจารย์: ไพลิน จิตรชุ่ม (Pailin JITCHUM)
แนวคิดเกี่ยวกับประชากรและกลุ่มสัตว์น้ำ ชีวประวัติสัตว์น้ำ การทดแทน และการอพยพย้ายถิ่น ผลผลิตของกลุ่มสัตว์น้ำ ผลของการประมงต่อชีวประวัติ และระบบนิเวศน์ของทรัพยากรประมง
Aquatic population and stock concept. Life histories, aquatic animals. Recruitment and migration. Aquatic stock production. Effects of fisheries to life histories and ecosystem of fisheries resources.